คลิกที่รูป เพื่อเอาโค้ดรูปนี้ไปแปะ

วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556

Monday 24 June 2013





24 June 2013


Science Experiences Management for Early Childhood

EAED3207 Time from 14.10 to 17.30pm Group Study 102 



       อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 6 คน เพื่อที่จะทำกิจกรรม โดยอาจารย์จะแจกเนื้อหาให้แต่กลุ่มอ่าน และรับผิดชอบคนละหัวข้อ
กลุ่มดิฉันได้หวข้อที่ 5 เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  คือ  การค้นคว้าความรู้อย่างมีระบบ
ผลผลิต คือ  สิ่งที่ปรากรณืภายหลังหรือค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการผลผลิตมีส่วนเกี่ยวข้องเสมอ  เพราะ  ครูเตรียมทำกิจกรรม  ต้องเฝ้าสังเกต  และครูต้องดูผลงานเด็ก

ตัวอย่าง  การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์เป็นกระบวนการมากกว่าผลผลิต
น้ำส้ม  เกี่ยวกับผลผลิต  ผลผลิต คือ น้ำส้มที่คั่นแล้ว
การที่ทำให้เด็กต้องศึกษา คือ
  • สอบถาม
  • จดหาส่วนผสม
  • จัดหาเครื่องมืออุปกรณ์ 
  • ผสมน้ำส้ม
  • เทแก้ว
          ในการทำกิจกรรมครูไม่ควรแนะนำอะไร  ถ้าเด็กไม่ถาม ควรให้เด็กอธิบายผลงานของเขาเอง  แล้วชิมรสชาติ ถ้ารสชาติเปลี่ยนแปลว่าเด็กใส่ส่วนผสมผิด


ต่อไปนี้คือหัวข้อที่เหลือจากที่สรุปจากใบงานที่อาจารย์แจก

แนวพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์  มี 5 ประการ
  • การเปลี่ยนแปลง
  • ความแตกต่าง
  • การปรับตัว
  • การพึ่งพาอาศัย
  • ความสมดุล
สิ่งเหล่านี้ทำให้ครูเข้าใจการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องตามธรรมชาติมี 5 ขั้นตอน
  1. กำหนด
  2. ตั้งสมมติฐาน
  3. ลงมือทดลองหรือรวบรวมแก้ปญหา
  4. วิเคราะห์ข้อมูล
  5. สรุปนำไปใช้
 และมี 4 ขั้นตอน
    1. กำหนด
    2. ตั้งสมมติฐาน
    3. ลงมือทดลองหรือรวบรวมแก้ปญหา
    4. สรุปนำไปใช้
การเรียนรู้เกิดจากเส้นใยเชื่อมกัน เด็กเกิดการคิดเพื่อให้เส้นใยประสาทเชื่อมกัน
เปรียบเสมือน กองบัญชาร่างกาย ------> คิดรู้สึก

 ความหมาย จาการสังเกตค้นคว้า ขัดเป็นระเบียบหรือวิชาที่ค้นคว้าจากหลักฐานและเหตุผล
Dr.Arther A.Carin ผ่านการทดสอบแล้ว  กล่าวว่า เรื่องธรรมชาติตัวความรู้และกระบวนการมีระบบนำมาปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์

พัฒนาสติปัญญา

          คือ ความเจริญงอกงามตามความคิด  พัฒนาจากปฏิสัมพันธ์  ตั้งแต่เกิดทำให้รู้จักตาน
กระบวนการปฏิสมพันธ์มี 2 แบบ คือ
  •  ดูดซับ
  • ปรับโครงสร้าง


หลังจากที่ได้ศึกษาจากใบความรู้เสร็จแล้ว เพื่อนได้เปิด VDO เรื่องสนุกกับอากาศมหัศจรรย์



สรุปจากที่ได้รับชม VDO เรื่องสนุกกับอากาศมหัศจรรย์

-  เอากระดาษปิดปากแก้ว แล้วคว่ำแก้วลง กระดาษจะไม่เปียกเพราะมีอากาศแทรกอยู่

-  นำน้ำเทลงในขวดได้โดยไม่มีดินน้ำมันปิดอยู่ได้ เพราะ ในขวดมีอากาศ แต่ถ้านำดินน้ำมันปิดปากขวดเชื่อมกัน น้ำจะไหลลงช้า เพราะ อากาศออกจากขวดไม่ได้

-  การช่างน้ำหนักอากาศ
    มีน้ำหนักที่ต่างกัน คือ น้ำหนักอากาศมีเหมือนกัน หนัก,เบา ขึ้นอยู่กับอากาศบริเวณนั้น


-  นำเทียนไข่มาจ่อแก้วที่ชั่งไว้
    อากาศภายในถ้วยทางซ้ายร้อนขึ้นทำให้เเก้วสูงขึ้น


-  การผลิตบอลลูนบนท้องฟ้า
    อยากให้ลุกบอลสูงก็เร่งไฟให้แรงกว่าเดิม
-  ขวดโหล 2 ใบ
    แช่ร้อน,แช่เย็น
คุณสมบัติของอากาศ
        แรงดันอากาศ คือ แรงที่อากาศกดลงบนพื้นผิวใส่น่ำในแก้วแล้วคว่ำไม่หก เจาะ 1 รูก็ไม่ไหล ต้องเจาะ 2 รู ฝั่งตรงข้าม เพื่อให้อากาศเข้าไปน้ำถึงจะไหล


วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556

Monday 17 June 2013





17  June 2013


Science Experiences Management for Early Childhood

EAED3207 Time from 14.10 to 17.30pm Group Study 102 


อาจารย์ได้สอนวิธีการทำ Blogger  ในการคัดลอกที่อยู่ลิงค์ และในการทำ Blogger หัวข้อต่างๆควรเขียนเป็นภาษาอังกฤษ การที่นำวิจัยลงไปใส่ใน Blogger เพราะ เราสามารถศึกษาได้ ได้วางแผน แล้วต้องนำอ้างอิงมาด้วย และบทความต้องคิด+วิเคราะห์+สรุป+อ้างอิง ทำให้เกิดความน่าเชื่อถือ
วิทยาศาสตร์มีทักษะกระบวนการโดยใช้สิ่งเหล่านี้ ดังนี้
  • เกณฑ์
  • มาตราฐาน
  • ความสามารถ
วิทยาศาสตร์มีเครื่องมือ 2 ตัว คือ
  1. ด้านทางภาษา     ใช้ในการเขียน
  2. ด้านคณิตศาสตร์ ใช้ในการหาค่าน้ำหนัก